วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

โครงงานการพัฒนาระบบห้องสมุด

โครงงานการพัฒนาระบบห้องสมุด


บทที่ 1 บทนำ

ปัจจุบันหนังสือเหล่านี้ที่จัดเก็บไว้ตามหมวด ไม่เป็นระเบียบเท่าที่ควร ระบบการยืมคืนยังคงเป็นแบบเก่า คือ ใช้วิธีการเขียนใส่ในบัตรสมาชิก และเขียนรายการยืม-คืนไว้ในนั้น เวลายืมเจ้าหน้าที่ก็จะรายละเอียดในสมุดสมาชิกที่นำมาด้วย และดึงบัตรทะเบียนหนังสือด้านหลังหนังสือเก็บไว้ พร้อมทั้งเขียนชื่อผู้ยืม วันยืม และวันคืนไว้ที่บัตรทะเบียนหนังสือ ทำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบัตรทะเบียน และต้องทำบัตรสมาชิกอยู่บ่อย ๆ และบ่อยครั้งที่บัตรสมาชิกหาย ทางเจ้าหน้าที่ไม่มีการเก็บข้อมูลของสมาชิกสำรองไว้ ทำให้ต้องทำบัตรใหม่อยู่เรื่อย ๆ
การพัฒนาระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาพัฒนาระบบห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการจัดการฐานข้อมูลของห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์การประมวลผลทำได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว เพิ่มความถูกต้อง ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล มีการบริการแนะนำหนังสือใหม่ผ่านเว็บไซต์ และมีระบบสมาชิกให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถประหยัดงบประมาณให้กับสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ได้อีกด้วย

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาระบบห้องสมุด
2.2 เพื่อให้สมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
2.3 เพื่อทำการจัดการข้อมูล การยืม-คืน หนังสือ ใน ห้องสมุด
2.4 เพื่อทำให้เกิดความสะดวกกับผู้ใช้และในการจัดเก็บข้อมูลการยืม­ – คืนหนังสือ
2.5 เพื่อสร้างฐานข้อมูลของระบบการยืม - คืนหนังสือ

บทที่ 2
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 ระบบงานปัจจุบัน
ปัจจุบันหนังสือเหล่านี้ที่จัดเก็บไว้ตามหมวด ไม่เป็นระเบียบเท่าที่ควร ระบบการยืมคืนยังคงเป็นแบบเก่า คือ ใช้วิธีการเขียนใส่ในบัตรสมาชิก และเขียนรายการยืม-คืนไว้ในนั้น เวลายืมเจ้าหน้าที่ก็จะรายละเอียดในสมุดสมาชิกที่นำมาด้วย และดึงบัตรทะเบียนหนังสือด้านหลังหนังสือเก็บไว้ พร้อมทั้งเขียนชื่อผู้ยืม วันยืม และวันคืนไว้ที่บัตรทะเบียนหนังสือ ทำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบัตรทะเบียน และต้องทำบัตรสมาชิกอยู่บ่อย ๆ และบ่อยครั้งที่บัตรสมาชิกหาย ทางเจ้าหน้าที่ไม่มีการเก็บข้อมูลของสมาชิกสำรองไว้ ทำให้ต้องทำบัตรใหม่อยู่เรื่อย ๆ
จึงได้จัดเก็บข้อมูลไว้ในโปรแกรม Mysql   โปรแกรมนี้ช่วยให้ การจัดเก็บข้อมูลมีประสิทธิภาพ และเป็นระเบียบเรียบร้อย ซึ่งเหมาะแก่งานในทุกกรณี และยังสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้อย่างง่ายและรวดเร็ว                              
2.2 องค์ความรู้ใหม่ที่ใช้ในการทำโครงงาน
-การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
1.  การวิเคราะห์ระบบ
ก่อนสร้างระบบงานจะต้องศึกษารายละเอียดของระบบงานที่ต้องการถ้าขาดความเข้าใจใน
ความต้องการของระบบที่สร้างจะทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่าย
การวิเคราะห์ระบบอาจเริ่มจากการระบบเป้าหมายของงานไว  อย่างคร่าวๆ
ข้อมูลและรายงานที่ใช่เราอาจแบ่งการวิเคราะห์ระบบออกเป็นงานย่อยดังต่อไปนี้

  1.1 การศึกษาความต้องการใช้สารสนเทศ
การวิเคราะห์อาจเริ่มจากศึกษาความต้องการใช้ สารสนเทศของระบบโดยดูจากรายงานที่ต้องการใช้จากรายงานเหล่านี้ ก็จะโยงไปยังข้อมูลที่ จำเป็นเพื่อใช้ออกรายงาน ข้อมูลเหล่านี้อาจมีการนำเข้าอาจมีการจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลเพื่ออ้างอิง หรืออาจเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ได สารสนเทศที่ต้องการบนรายงาน  
   1.2 การศึกษาการปฏิบัติงานในระบบ
คือขั้นตอนปฏิบัติในแต่ละงานว่าต้องทำอะไร อย่างไร
2.  การออกแบบระบบ
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบเมื่อนำมาออกแบบระบบจะประกอบด้วยงาน ดังนี้
    1) การออกแบบฐานข้อมูล
    2) การออกแบบส่วนนำเข้า
    3) การออกแบบรายงาน
    4) การออกแบบการประมวลผลที่ต้องการ
  2.1  การออกแบบฐานข้อมูล
ปกติแฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้มจะเก็บข้อมูลเฉพาะเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน  ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมี
การออกแบบฐานข้อมูลว่าควรประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลก็แฟ้มและแต่ละแฟ้มเก็บข้อมูลอะไรบ้างวิธีการออกแบบฐานข้อมูลที่นิยมวิธีหนึ่งคือวิธีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งใดๆหรือเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบงาน    เรื่องหรือสิ่งใดๆที่สนใจในการสร้างฐานข้อมูลเรียกว่า เอนทิตี (entity) ซึ่งอาจเป็นบุคคลเช่น นักเรียน หรืออาจเป็นสิ่งของเช่นหนังสือ  หรือหน่วยงานเช่น ฝ่ายทะเบียน หรืองานเช่น
การยืมหนังสือ ฯลฯ     

การออกแบบเป็นผังมโนภาพ (Conceptual Design) เป็นวิธีออกแบบฐานข้อมูลและความสัมพันธ์ต่างๆ ในระดับความคิดโดยใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของ Entity  และ Relation เรียกว่าแผนภาพ  E-R สัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนภาพ ได้แก่

 

 -รูปวงรี แทนแอททริบิวท์หรือเขตข้อมูลสัญลักษณ์ละหนังเขตข้อมูล



 -รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแทนเอนทิตีหรือตารางข้อมูลหนึ่งตาราง

 

                       

 -รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด แทนรีเลชันหรือความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตีแต่ละเอนทิตี
   ภายในสัญลักษณ์แต่ละอันจะเขียนชื่อหรือความสัมพันธ์กำกับไวภายในและเชื่อมโยงถึงกัน
ด้วยเส้นและหัวลูกศร เช่น ตารางข้อมูลของนักเรียนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย มีแอนทริบิลท์เป็นเลขที่ เลขประจำตัว ชื่อและนามสกุล เป็นต้น

-การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ของเอนทิตีอาจจำแนกได้เป็น 3 แบบ คือ
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่งตัวอย่างครูประจำชั้นกับชั้นเรียน ซึ่งสามารถแสดงเป็นผังแสดงความสัมพันธ์ ของเอนทิตีได้ดังต่อไปนี้

2.  ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหลายหรือหลายต่อหนึ่ง ตัวอย่าง เช่น ครูประจำชั้นสอนนักเรียนซึ่งสามารถแสดงเป็นผังได้ดังต่อไปนี้

 




3. ความสัมพันธ์แบบหลายต่อหลายตัวอย่าง เช่น สมาชิกห้องสมุดยืมหนังสือซึ่งสามารถแสดงเป็นผังได้ดังต่อไปนี้

 


-โปรแกรม Microsoft Access2007
Mysql เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอ่างแพร่หลาย เนื่องจาก Mysql เป็น โปรแกรมฐานข้อมูลที่มีความสามารถในหลายๆ ด้าน ใช้งานง่าย ซึ่งผู้ใช้สามารถเริ่มทำได้ตั้งแต่การออกแบบ ฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูล เขียนโปรแกรมควบคุม ตลอดจนการทำรายงานแสดงผลของข้อมูล
Mysql เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้ง่าย โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมก็สามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องศึกษารายละเอียดในการเขียนโปรแกรมให้ยุ่งยาก และสำหรับนักพัฒนาโปรแกรมมืออาชีพนั้น Mysql  ยังตอบสนองความต้องการในระดับที่สูงขึ้นไปอีกเช่น การเชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลกับฐานข้อมูลอื่น ๆ เช่น SQL SERVER, ORACLE หรือแม้แต่การนำข้อมูลออกสู่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Mysql จะจัดระเบียบข้อมูลของคุณลงใน ตาราง ซึ่งเป็นรายการของแถวและคอลัมน์ที่มีลักษณะคล้ายกับกระดาษบันทึกของนักบัญชีหรือแผ่นงาน Excel 2007 ในฐานข้อมูลอย่างง่ายนั้น คุณอาจมีตารางเพียงหนึ่งตาราง แต่สำหรับฐานข้อมูลส่วนใหญ่ คุณอาจต้องการตารางมากกว่าหนึ่งตาราง ตัวอย่างเช่น คุณอาจมีตารางหนึ่งตารางที่ใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อีกหนึ่งตารางใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับใบสั่งซื้อ และอีกหนึ่งตารางสำหรับเก็บข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้า


บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ

1. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้
  - คอมพิวเตอร์
  - program Dreamweaver
  - program Mysql
  - ข้อมูลแพทย์
  - ตารางเวรแพทย์
2. วิธีการดำเนินการตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
2.1 ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา
ปัจจุบันหนังสือเหล่านี้ที่จัดเก็บไว้ตามหมวด ไม่เป็นระเบียบเท่าที่ควร ระบบการยืมคืนยังคงเป็นแบบเก่า คือ ใช้วิธีการเขียนใส่ในบัตรสมาชิก และเขียนรายการยืม-คืนไว้ในนั้น เวลายืมเจ้าหน้าที่ก็จะรายละเอียดในสมุดสมาชิกที่นำมาด้วย และดึงบัตรทะเบียนหนังสือด้านหลังหนังสือเก็บไว้ พร้อมทั้งเขียนชื่อผู้ยืม วันยืม และวันคืนไว้ที่บัตรทะเบียนหนังสือ ทำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อบัตรทะเบียน และต้องทำบัตรสมาชิกอยู่บ่อย ๆ และบ่อยครั้งที่บัตรสมาชิกหาย ทางเจ้าหน้าที่ไม่มีการเก็บข้อมูลของสมาชิกสำรองไว้ ทำให้ต้องทำบัตรใหม่อยู่เรื่อย ๆ
การพัฒนาระบบโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาพัฒนาระบบห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการจัดการฐานข้อมูลของห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์การประมวลผลทำได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว เพิ่มความถูกต้อง ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล มีการบริการแนะนำหนังสือใหม่ผ่านเว็บไซต์ และมีระบบสมาชิกให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถประหยัดงบประมาณให้กับสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ได้อีกด้วย
2.2 ออกแบบโปรแกรม
     1) ออกแบบ ER-Dirgram
                2) ออกแบบตารางข้อมูล
                     - โครงสร้างทางห้องสมุด
                     - โครงสร้างการยืม - คืนหนังสือ
                     - ชื่อโครงสร้างข้อมูลหนังสือ
2.3 พัฒนาโปรแกรม
     1.ศึกษาข้อมูลเอกสารจากการสอบถาม และสังเกตการณ์ทำงานของระบบงาน ลักษณะการทำงานของระบบเป็นการกรอกข้อมูลและลายละเอียดลงไป และระบบจะทำการประมวลผลออกมา
               2.ใช้โปรแกรม Microsoft Office Access 2007 พัฒนาส่วนอะไรบ้าง
               3.วิเคราะห์การใช้งานในแต่ละส่วนต้องคอยตรวจสอบดูแล และแก้ไขระบบอย่างเสมอ
2.4 ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
หลักการทดสอบ
                   - ทำการทดสอบก่อนนำไปใช้จริง
-จัดทำรายงาน และคู่มือการใช้โปรแกรม
                    - แนะนำการใช้งาน
                    - เมื่อได้ระบบที่สมบูรณ์พร้อมแล้วก็นำไปใช้ในการเก็บข้อมูลแพทย์เพื่อจัดตารางเวร
                     -นำเสนอโครงงาน
            แนะนำแผนการบำรุงรักษาระบบ
    1.แก้ไขส่วนที่ผิดพลาด
    2.ตรวจสอบการใช้งานของระบบทุกๆ 1 เดือน
    3.ทำให้ข้อมูลมีความทันสมัยตลอด
    4.ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อนำมาพัฒนาระบบให้มีความเป็นมาตรฐานและจัดเก็บข้อมูลได้มากและแม่นยำยิ่งขึ้น

บทที่ 4
การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล

          4.1 การออกแบบระบบ
                   - การออกแบบหน้าจอส่วนนำเข้าข้อมูล (Input Form)
                   - การออกแบบรายงานส่วนแสดงผล (Output Form)
                   - การออกแบบความสัมพันธ์ระหว่างตารางฐานข้อมูล (E-R Diagram)
                   - การออกแบบตารางฐานข้อมูล (Database)
          4.2 การพัฒนาระบบโดยใช้โปรแกรม Microsoft Access2007
                   - ผลลัพธ์การสร้างฐานข้อมูลและตาราง
                   - ผลลัพธ์การสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูล
                   - ผลลัพธ์การสร้างส่วนนำเข้าข้อมูล (Input Form)  
                   - ผลลัพธ์การสร้างรายงานส่วนแสดงผล (Output Form)    


                              บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน

1. สรุปผลการดำเนินงาน
2. ปัญหาและอุปสรรค
    2.1 โครงงานการพัฒนาระบบห้องสมุดดำเนินไปตามขั้นตอน  ตามที่ได้ตั้งไว้ทุกประการและตามที่หวังไว้  การดำเนินงานก้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
    2.2 จากการทำโครงงานเรื่องนี้ก็ได้ความรู้มากมายและได้ปฏิบัติจริงโดยการเขียนโค้ดภาษา PHP การสร้างฐานข้อมูลใน Mysql   และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
3. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ
    1.แก้ไขส่วนที่ผิดพลาด
    2.ตรวจสอบการใช้งานของระบบทุกๆ 1 เดือน
    3.ทำให้ข้อมูลมีความทันสมัยตลอด
    4.ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อนำมาพัฒนาระบบให้มีความเป็นมาตรฐานและจัดเก็บข้อมูลได้มากและแม่นยำยิ่งขึ้น